อาจารย์พิชิตชัย แพ่งศรีสาร

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น M อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

เบอร์โทร : 095-9569309

E-Mail:

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

ปริญญาโท

– ศศ.ม (สังคมวิทยาการพัฒนา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปริญญาตรี

– พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความสนใจทางวิชาการ

ผลงานทางวิชาการ

อาจารย์บุญช่วย กิตติวิชญกุล

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น M อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์ : 094-2610260

E-Mail:

ประวัติการศึกษา

          ปริญญาเอก

– รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ปริญญาโท

– เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ปริญญาตรี

– ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยพระนคร

ความสนใจทางวิชาการ

ผลงานทางวิชาการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประมุข ศรีชัยวงษ์

ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : รองอธิการบดีฝ่ายกายภาพ วิจัย และบริการวิชาการ

สถานที่ติดต่อ: ชั้น 5 อาคาร 6 (อาคารเรียนรวม 9 ชั้น) มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์ : 095-6018733

E-Mail: pramuk@cpru.ac.th

ประวัติการศึกษา

          ปริญญาเอก

– ปร.ด. (ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

ปริญญาโท

– วท.ม.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปริญญาตรี

– วท.บ. (เทคโนโลยีการเกษตร) สถาบันราชภัฏอุดรธานี

– กษ.บ. (ส่งเสริมการเกษตร) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ความสนใจทางวิชาการ

– การพัฒนาชุมชน ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา

ผลงานทางวิชาการ

อธิษฐาน ใชยเรือง, ประมุข ศรีชัยวงษ์.  (2563).  ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำสู่การพัฒนาที่ ยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ.  วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 5(1),  27-37.

อธิษฐาน ใชยเรือง และประมุข ศรีชัยวงษ์. (2562). ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสารมจร.อุบลปริทรรศน์, 5(1), 27-37.

อินทุราภรณ์ มงคลขจรกิตติ, อรรถ อภินนท์ธีระศักดา และประมุข ศรีชัยวงษ์.  (2562). การพัฒนากระบวนการผลิตดาวเรืองเพื่อเข้าสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกร จังหวัดชัยภูมิ. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. 6(3),  59-73.

ประมุข ศรีชัยวงษ์ และภัทรพงษ์ เกริกสกุล. (2562). แนวทางการบริหารจัดการภาครัฐในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในเขตพื้นที่รอบอุทยาน: กรณีการเลี้ยงโคภูเขาเขต จังหวัดชัยภูมิ. แก่นเกษตร, 47(1), 199-204.

ภัทรพงษ์ เกริกสกุล และประมุข ศรีชัยวงษ์. (2562). ความเปราะบางของระบบการผลิตข้าวของเกษตรกร อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก. แก่นเกษตร, 47(1), 153-158.

อาจารย์กันตินันท์ นามตะ

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น M อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์ : 061-0860955

E-mail:

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

ปริญญาโท

– นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ปริญญาตรี

– นิติศาสตรบัณฑิต  วิทยาลัยบัณฑิตบริหารธุรกิจ

ความสนใจทางวิชาการ

ผลงานทางวิชาการ

กันตินันท์ นามตะ. (2562). การกำหนดสัดส่วนการจ้างแรงงานคนพิการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 2(2), 54-62.

อาจารย์บุญส่ง วรสิงห์

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น M อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

เบอร์โทร : 086-8610300

E-Mail :

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

ปริญญาโท

– นิติศาสตรมหาบัณฑิต (มหาวิทยาลัยรามคำแหง)

ปริญญาตรี

– นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ความสนใจทางวิชาการ

ผลงานทางวิชาการ

บุญส่ง วรสิงห์.  (2563).  การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมของไทย.  วารสารวิชาการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค,  6(2),  403-413.

รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ โชควรกุล

ตำแหน่งทางวิชาการ : รองศาสตราจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : ประธานกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการ

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

เบอร์โทร : 081-1204170

E-Mail : Dr.kreang@gmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

– รป.ด. (เกียรตินิยม) รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์

ปริญญาโท

– รป.ม. (เกียรตินิยม) นโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ปริญญาตรี

– บธ.บ. (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยบูรพา

– ร.บ. (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ความสนใจทางวิชาการ

ผลงานทางวิชาการ

เกรียงศักดิ์ โชควรกุล.  (2563).  แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในภาวะภัยแล้งแบบบูรณาการของชุมชนบ้านนาฝาย ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ.  วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.  7(2),  438-454

เกรียงศักดิ์  โชควรกุล. (2562). แนวคิดการบริหารงานเชิงนวัตกรรมสู่ผู้นำในการพัฒนาท้องถิ่น.บทความวิชาการในการประชุมระดับชาติ ครั้งที่ 3 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,วันที่ 31 สิงหาคม 2562.

เกรียงศักดิ์  โชควรกุล.  (2561).  แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพ และ ผลิตภาพ เพื่อยกระดับมูลค่าเพิ่มของกระบวนการผลิตอุตสาหกรรมการเกษตร “อ้อย” ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.  วารสารชุมชนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา,  12(1),  181-190.

เกรียงศักดิ์  โชควรกุล.  (2561).  กลยุทธ์การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่นด้วยการสร้างค่านิยมของกลุ่มนักศึกษาในจังหวัดชัยภูมิ.  วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์,  20(2),  237-251.

บทความ ระดับสากล/นานาชาติ

Kreangsak Chokwarakul (Corresponding). (2021). Driving in the Innovation Organization through Human Resource Development. Journal of Positive Psychology and Wellbeing. Journal of Positive Psychology & Wellbeing. http://journalppw.com. 5(3). 55–60. (ฐานตีพิมพ์ Scopus)

Kreangsak Chokwarakul. (2021). Implementation Guidelines of the Anti-Corruption Act 2018 for Adapting to Private Sector, Thailand. http://annalsofrscb.ro. Annals of R.S.C.B, 25(3). 7545–7551. (ฐานตีพิมพ์ Scopus)

Kreangsak Chokwarakul. (2021). PUBLIC LAW: THE FOUNDATION OF THAILAND’S GOOD OVERNANCE SYSTEM. Turkish Journal of Physiotherapy and Rehabilitation. https://turkjphysiotherrehabil.org. 9030-9038. (ฐานตีพิมพ์ Scopus)

Kreangsak Chokwarakul (Corresponding). (2021). Role’s Organizations Driving The Innovation To Human Resource Management And Development To Being HR Innovation. Journal of Positive Psychology & Wellbeing. http://journalppw.com. Vol. 5(3), 50–54. (ฐานตีพิมพ์ Scopus)

Kreangsak Chokwarakul (Corresponding). (2021). The Effects of Murdoch Integrated Approach on Improving English Reading Comprehension Skills and Analytical Thinking Skills of Undergraduate Students at Rajabhat Maha Sarakham University. Annals of the Romanian Society for Cell Biology . http://journalppw.com. Annals of R.S.C.B. 25(6), 16406–16417. (ฐานตีพิมพ์ Scopus)

 

บทความระดับชาติ

เกรียงศักดิ์ โชควรกุล. (2560). แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพเพื่อยกระดับมูลค่าเพิ่มของกระบวนการผลิตอุตสาหกรรมการเกษตร “อ้อย” ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา,12(1) (ฐานตีพิมพ์ TCI กลุ่มที่ 1). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 181-190.

เกรียงศักดิ์ โชควรกุล. (2561).กลยุทธ์การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่นด้วยการสร้างค่านิยมของกลุ่มนักศึกษาในจังหวัดชัยภูมิ.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 20(2) (ฐานตีพิมพ์ TCI กลุ่มที่ 2). มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 237-251.

เกรียงศักดิ์ โชควรกุล. (2563). แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำภาวะภัยแล้งแบบบูรณาการของชุมชนบ้านนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 7(2) (ฐานตีพิมพ์ TCI กลุ่มที่ 2). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.437-454.

เกรียงศักดิ์ โชควรกุล. (2564). คุณภาพชีวิตในภาวะวิกฤติ COVID-19. การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลยวิชาการ ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2564 “ความท้าทายทางการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคมท้องถิ่นวิถีใหม่”Research and innovation challenges for the new normal local society.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. 1-7.

เกรียงศักดิ์ โชควรกุล. (2562). แนวคิดการบริหารเชิงนวัตกรรมสู่ผู้นำในการพัฒนาท้องถิ่น. การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 “นวัตกรรมทางการปกครองและการบริหารในยุคไทยแลนด์ 4.0”.
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 181-197.

อาจารย์ธนิกานต์ ศรีจันทร์

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์ : 086-8716493

E-Mail: srichan.porpia@gmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

ปริญญาโท

– รป.ม. (นโยบายสาธารณะ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ปริญญาตรี

– ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ความสนใจทางวิชาการ

รัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารจัดการองค์การภาครัฐ

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัย

1) ธนิกานต์  ศรีจันทร์ เรื่อง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษากรณี  อ.คอนสวรรค์  จ.ชัยภูมิ  ปี 2562

2) เสาวนีย์  จันทรสังข์ และธนิกานต์ ศรีจันทร์  เรื่อง บทบาท กำนัน ผู้ใหญ่บ้านกับแนวทางการส่งเสริมสวัสดิการแห่งรัฐ (บัตรสวัสดิการ) ในชุมชน :กรณีศึกษา ต.นาฝาย อ.เมือง จ.ชัยภูมิ  ปี2562 (ผู้ร่วมวิจัย)

3) โชติกา สิงหาเทพ เรื่อง ประชากรรุ่นเกิดล้านกับการก้าวสู้วัยผู้สูงอายุในอนาคต จ.ชัยภูมิ ปี2562 (ผู้ร่วมวิจัย)

4) อินทุราภรณ์  มงคลขจรกิตติ และธนิกานต์ ศรีจันทร์. เรื่อง พฤติกรรมการผลิตผักปลอดภัยของเกษตรกร ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ปี2562 (ผู้ร่วมวิจัย)

5) ธนิกานต์  ศรีจันทร์ เรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่น : ศึกษากรณี อ.คอนสวรรค์  จ.ชัยภูมิ  ปี 2561

6) อินทุราภรณ์  มงคลขจรกิตติ และธนิกานต์ ศรีจันทร์. เรื่อง การแปรรูปผลิตภัณฑ์สบู่ส้มโอและบรรจุภัณฑ์ให้เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออกของกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ส้มโอ บ้านบุ่งสิบสี่ ตำบลโนนทอง อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปี2561 (ผู้ร่วมวิจัย)

7) ชูเกียรติ  ผลาผล และธนิกานต์ ศรีจันทร์. เรื่อง ถนนปลอดภัย อาสานาฝายร่วมใจป้องกันอุบัติภัยทางจราจร ผู้ร่วมวิจัย 2561 (ผู้ร่วมวิจัย)

8) ธนิกานต์  ศรีจันทร์ เรื่อง  “การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่น  มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ”  ปี2560

9) โชติกา สิงหาเทพ และธนิกานต์ ศรีจันทร์ เรื่อง  “บทบาทของผู้สูงอายุในการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”ตำบลโคกมั่งงอย อำเภอคอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ   สถาบันพระปกเกล้า   ปี 2560 (ผู้ร่วมวิจัย)

10) เสาวนีย์  จันทรสังข์  และธนิกานต์ ศรีจันทร์เรื่อง บทบาทกำนัน ผู้ใหญ่บ้านกับการนำแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาท้องที่ ต.ลุ่มลำชี อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ. ปี 2560 (ผู้ร่วมวิจัย)

 

บทความวิจัย

1) ธนิกานต์  ศรีจันทร์,ดร.อินทุราภรณ์ อินทรประจบ, ผศ.ดร.สมศักดิ์ จั่นผ่อง,ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา และชูเกียรติ ผลาผล.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษากรณี อ.คอนสวรรค์  จ.ชัยภูมิ (2562). Journal of Modern Learning Development.ศูนย์พัฒนาการเรียนรู้สมัยใหม่ บจก.พัฒนาการเรียนรู้สมัยใหม่ จ.อุดรธานี. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมีนาคม – เมษายน 2564   (TCI 2)

 2) ธนิกานต์  ศรีจันทร์,โชติกา สิงหาเทพ, เสาวนีย์  จันทรสังข์ และอรรถ อภินนท์ธีระศักดา. (2562).การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่น. สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563   (TCI 2)

3) ธนิกานต์  ศรีจันทร์,โชติกา สิงหาเทพ, เสาวนีย์  จันทรสังข์ และอรรถ อภินนท์ธีระศักดา. (2562).การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่น. วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษาและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม – มิถุนายน 2562   (TCI 2)

4) อินทุราภรณ์  มงคลขจรกิตติ. อรรถ  อภินนท์ธีระศักดา และธนิกานต์  ศรีจันทร์. เรื่อง “การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ด้วยโปรแกรมกูเกิ้ลคลาสรูมสำหรับอาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ”บัณฑิตศึกษาและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์  ปีที่9 ฉบับที่1 ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน  ปี2562 มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์  (TCI 2) (ผู้ร่วมวิจัย)

5) โชติกา  สิงหาเทพ, เสาวนีย์  จันทรสังข์ และธนิกานต์  ศรีจันทร์  เรื่อง  “ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.โคกมั่งงอย อ.คอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ”วารสารพิกุล คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์  ประจำปีที่ 17 ปี2562 มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร (TCI 2) (ผู้ร่วมวิจัย)

6) เสาวนีย์  จันทสังข์  โชติกา สิงหาเทพ  ธนิกานต์  ศรีจันทร์ และอินทุราภรณ์  มงคลขจรกิตติ.(2562). บทบาทกำนัน ผู้ใหญ่บ้านกับการนำแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาท้องที่ ต.ลุ่มลำชี อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ. วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนธันวาคม 2562. ) (ผู้ร่วมวิจัย)

 

บทความวิชาการ

1) ธนิกานต์  ศรีจันทร์, สมศักดิ์  มงคลขจรกิตติ และ อินทุราภรณ์  มงคลขจรกิตติ. (2561). การพัฒนาทุนมนุษย์ในยุคไทยแลนด์ 4.0 . วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษาและสังคมศาสตร์ มหาวิทยลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม – มิถุนายน 2561 หน้า 43 – 60 (TCI 2)

2) ธนิกานต์  ศรีจันทร์.การกระจายอำนาจท้องถิ่นในยุคไทยแลนด์ 4.0.การประชุมสังคมศาสตร์วิชาการระดับชาติ  ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม “Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน.วันที่ 23-24  มีนาคม 2560  ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

3) ธนิกานต์  ศรีจันทร์.การพัฒนาทุนมนุษย์ของอาเซียนในศตวรรษที่ 21.การประชุมสังคมศาสตร์วิชาการระดับชาติ  ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย “ ความมั่นคงของสังคมไทยในศตวรรษที่ 21”.วันที่ 20 มกราคม 2560  ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

อาจารย์จินตกานด์ สุธรรมดี

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์ : 062-152-4117

E-Mail: jintakan.su@cpru.ac.th

ประวัติการศึกษา

          ปริญญาเอก

ปริญญาโท

– รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ

ปริญญาตรี

– ร.บ. (การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยสารคาม

ความสนใจทางวิชาการ

– การบริหารทรัพยากรมนุษย์

ผลงานทางวิชาการ

ปี ๒๕๖๓

โครงการที่ ชื่อโครงการ หมายเหตุ
๑.งานวิจัย
๑. วิจัยชุดโครงการ “การส่งเสริมพัฒนาอาชีพสร้างสังคมดี มีสุข อย่างยั่งยืนในพื้นที่ตำบลโคกมั่งงอย อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ”

เรื่อง การพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมบนพื้นฐานการพัฒนาพลเมืองเข้มแข็งเพื่อสร้างสังคมดีมีสุขอย่างยั่งยืนในพื้นที่บ้านโคกมั่งงอย  ตำบลโคกมั่งงอย อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ

 
๒. ทุนวิจัย บพข. โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบและถ่ายทอดนวัตกรรมเทคโนโลยีการเลี้ยงไก่พื้นเมืองอินทรีย์เชิงธุรกิจแบบครบวงจรเพื่อยกระดับรายได้ของชุมชน ตำบลเก่าย่าดี อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ (ร่วม)  
๒.มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย/ผลงานวิชาการในการประชุมสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ หรือวารสารวิชาการที่เชื่อถือได้ในระดับชาติ
๑. การพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรท้องถิ่น “แผ่นดินถิ่นรักษ์ชัยภูมิ” แบบมีส่วนร่วมกับชุมชนสู่นวัตกรรมบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตระดับประถมศึกษาจังหวัดชัยภูมิ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๑ ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๓  TCI 1  
แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ ประจำเดือนมกราคม-เมษายน ๒๕๖๓)  
แนวทางการยกระดับขีดความสามารถเกษตรกรรุ่นใหม่อย่างยั่งยืน ในพื้นที่บ้านนาสีนวล อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน) พ.ศ.๒๕๖๓. (วารสารทั่วไป)  
๓.มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย/ผลงานวิชาการในวารสารวิชาการที่น่าเชื่อถือในระดับนานาชาติ หรือผลงานวิจัยที่สร้างสิ่งประดิษฐ์/ผลงานที่ได้อนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร
๑. ตำรา เรื่อง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ยุคใหม่ ขอบข่ายแนวคิดและการประยุกต์  ISBN ; 978-616-474-247-5  

 

ปี ๒๕๖๒

โครงการที่ ชื่อโครงการ หมายเหตุ
๑.งานวิจัย  
๑. แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ทุนสนับสนุนจากงบประมาณกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ประจำปีงบประมาณ 2562  
๒. แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยระดับครัวเรือนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ (ผู้วิจัยหลัก)  
๓. แนวทางการยกระดับขีดความสามารถเกษตรกรรุ่นใหม่อย่างยั่งยืนในพื้นที่บ้านนาสีนวล ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ  ทุนสนับสนุนจากงบประมาณกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ประจำปีงบประมาณ 2562 (ร่วม)  
๔. การพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้ปลูกข้าวอินทรีย์บ้านนาฝาย จังหวัดชัยภูมิ (ร่วม)  
๕. การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการแปรรูปเห็ดนางฟ้า ชุมชนบ้านนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมื (ร่วม)  
๖. การมีส่วนร่วมด้วยการฝึกอบรมการแปรรูปกล้วย ชุมชนบ้านนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ (ร่วม)  
๗. แนวทางการบริหารจัดการน้ำเสีย โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนบ้านนาฝาย ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ กรณี: รองรับแผนพัฒนาจังหวัดชัยภูมิ ปี 2561-2564. (ร่วม)  
๒.มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย/ผลงานวิชาการในการประชุมสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ หรือวารสารวิชาการที่เชื่อถือได้ในระดับชาติ
๑. คุณลักษณะของอาจารย์มืออาชีพด้านรัฐประศาสนศาสตร์ใน ศ.21 วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)  (กรกฎา 61 – ธันวาคม 2561) TCI 1  
กรอบแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การในศตวรรษที่ 21

ตีพิมพ์วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีที่ 14 ฉบับที่1 มกราคม-มิถุนายน 2562 (ผู้ร่วม)

 
๓. จินตกานด์ สุธรรมดีและคณะ.(2562). แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยระดับครัวเรือนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) พ.ศ.2562.(ผู้วิจัย)  
๔. (2562). การพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรฝึกอบรมเรื่องการแปรรูปอาหารจากเห็ดนางฟ้าเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนท้องถิ่นตำบลนาฝาย จังหวัดชัยภูมิ. วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2562. (ผู้ร่วมวิจัย) (คะแนน 0.2) ศุภรดา แสนยาโต และคณะ.  
๕. การพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้ปลูกข้าวอินทรีย์บ้านนาฝาย จังหวัดชัยภูมิ. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) พ.ศ.2562.  
๖. แนวทางการบริหารจัดการน้ำเสีย โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนบ้านนาฝาย ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ กรณี: รองรับแผนพัฒนาจังหวัดชัยภูมิ ปี 2561-2564.วารสารวิชาการคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) พ.ศ.2562. (ผู้ร่วมวิจัย)  
 การเสริมสร้างอาชีพแปรรูปกล้วยน้ำว้าโดยใช้ภูมิปัญญาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนท้องถิ่นตำบลนาฝาย จังหวัดชัยภูมิ วารสารวิชาการคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) พ.ศ.2562. (ผู้ร่วมวิจัย)  

 

ปี ๒๕๖๑

โครงการที่ ชื่อโครงการ หมายเหตุ
    ๑.งานวิจัย
๑. แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบเทศบาลตำบลในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ/ทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ(หัวหน้าโครงการ)  
๒. ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ อบต.บ้านเพชร อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ(หัวหน้าโครงการ)  
๒.มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย/ผลงานวิชาการในการประชุมสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ หรือวารสารวิชาการที่เชื่อถือได้ในระดับชาติ
๑. รูปแบบวิธีการขับเคลื่อนการเมืองภาคพลเมืองในยุคปฏิรูปของชาวรากหญ้าในจังหวัดชัยภูมิ

วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ ปีที่3  ฉบับที่1 มกราคม-มิถุนายน 2561 (วารสารทั่วไป)

 
๒. ตำรา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ยุคใหม่ ขอบข่าย แนวคิด และการประยุกต์ ISBN ; 978-616-474-247-5 (ร่วม)  
๓. รูปแบบการขัดเกลาทางสังคมเพื่อพัฒนาจิตพฤติกรรมเด็กและเยาวชนในจังหวัดชัยภูมิ

วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่20 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561 (วารสารออนไลน์)

 

 

ปี ๒๕๖๐

โครงการที่ ชื่อโครงการ หมายเหตุ
๑. งานวิจัย
ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ อบต.ดอนหัน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น” (หัวหน้าโครงการ)  
รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะองค์การเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชัยภูมิ/ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ  
รูปแบบการพัฒนาการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือของชุมชนเขตอุทยานแห่งชาติตาดโตน จ.ชัยภูมิ

/ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

 
รูปแบบวิธีการขับเคลื่อนการเมืองภาคพลเมืองยุคปฏิรูปของชาวรากหญ้าใน จ.ชัยภูมิ(ผู้ร่วมโครงการวิจัย)  
นวัตกรรมการพัฒนาพื้นที่พลังงานชุมชนภาคเกษตร เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนบ้านนาไก่เซา จังหวัดชัยภูมิ

(ผู้ร่วมโครงการวิจัย)

 
๒.มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย/ผลงานวิชาการในการประชุมสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ หรือวารสารวิชาการที่เชื่อถือได้ในระดับชาติ
บทความวิชาการ กรอบการศึกษาวัฒนธรรมองค์การเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการปฏิบัติงาน/วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 TCI กลุ่มที่ 2  
รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะองค์การเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชัยภูมิ

ตีพิมพ์วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560 TCI ฐาน 2

 
บทความทางวิชาการ

การประยุกต์ใช้สมรรถนะเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (ร่วม)

วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560

 
แนวทางการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในยุคปฏิรูปประเทศไทย

วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ 2560 มิถุนายน-กรกฎาคม TCI ฐาน 1 (ร่วม)

 

 

ปี ๒๕๕๙

โครงการที่ ชื่อโครงการ หมายเหตุ
๑. งานวิจัย
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือระหว่างชุมชนกับมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ/ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

(หัวหน้าโครงการ)

 
รูปแบบวิธีการจัดการทางสังคมเพื่อพัฒนาจิตพฤติกรรมเด็กและเยาวชนในจังหวัดชัยภูมิ/ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

(หัวหน้าโครงการ)

 
ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ อบต.บ้านเพชร อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ” (หัวหน้าโครงการ)  
รูปแบบวิธีการขับเคลื่อนการเมืองภาคพลเมืองยุคปฏิรูปของชาวรากหญ้าใน จ.ชัยภูมิ(ผู้ร่วมโครงการวิจัย)  
นวัตกรรมการพัฒนาพื้นที่พลังงานชุมชนภาคเกษตร เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนบ้านนาไก่เซา จังหวัดชัยภูมิ

(ผู้ร่วมโครงการวิจัย)

 
๒.มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย/ผลงานวิชาการในการประชุมสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ หรือวารสารวิชาการที่เชื่อถือได้ในระดับชาติ
บทความทางวิชาการ

การประยุกต์ใช้สมรรถนะเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (ร่วม)

วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560

 

อาจารย์ ดร.ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์ : 090-2607514

E-Mail : Natthaprachaiyasinkhunanon@gmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

– รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ปริญญาโท

– รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏสารคาม

ปริญญาตรี

– ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ความสนใจด้านวิชาการ

         

ผลงานวิชาการ

ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, คัทลียา นาวิเศษ และเกศสุดา โภคานิตย์. (2562). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาการจัดการระบบเศรษฐกิจชุมชนในยุคไทยแลนด์ 4.0 เพื่อเพิ่มรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน ตำบลท่าหินโงม อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการบริหารและ  กิจการสาธารณะยุคดิจิทัล ครั้งที่ 5 วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น  มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

คัทลียา นาวิเศษ, คุณัญญาฐ์ คงนาวัง, ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์.  (2563).  วิถีชุมชนกับการบริหารจัดการน้ำ สู่รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กรณีศึกษา ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ.  วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น,  4(3),  303-316.

เกศสุดา โภคานิตย์ กีฬา หนูยศ ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์ และคัทลียา นาวิเศษ.  (2562). การเสริมสร้างความเข้มแข็งของผ่านประเพณีแห่นาคโหด ชุมชนโนนเสลา ตำบลหนองตูม อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ : วิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการบริหารและกิจการสาธารณะยุคดิจิทัล ครั้งที่ 5 วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Scroll to top