อาจารย์ ดร.ศาสตร์ศิลป์ ละม้ายศรี

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์ : 089-5132344/094-3790059

E-Mail: sarsil.l@gmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

– รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์

ปริญญาโท

– รป.ม. (การบริหารงานทั่วไป) มหาวิทยาลัยบูรพา

ปริญญาตรี

– ศศ.บ. (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี

ความสนใจด้านวิชาการ

          – การบริหารรัฐกิจ การจัดการภาครัฐและเอกชน

ผลงานวิชาการ

ศาสตร์ศิลป์ ละม้ายศรี. (2564). พื้นที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยกับการเพาะเลี้ยงหอยแครง. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง. (อยู่ระหว่างการตีพิมพ์)

อธิษฐาน ใชยเรือง, ศาสตร์ศิลป์ ละม้ายศรี, และกมลรัตน์ ทองสว่าง. (2562). เครือข่ายชุมชนออนไลน์กับการท่องเที่ยวเมืองรองส่งเสริมคุณภาพชีวิตเชิงพื้นที่แบบองค์รวม (ABC-6D) บ้านโนนพระคำ อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. (รายงานการวิจัย). ชัยภูมิ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

ศาสตร์ศิลป์ ละม้ายศรี, อธิษฐาน ใชยเรือง และศิรินันท์ ถนัดค้า. (2562). แนวคิดคนรุ่นใหม่กับการเสริมคุณภาพชีวิตเชิงพื้นที่แบบองค์รวม (ABC-6D) บ้านนาสีนวล อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. (รายงานการวิจัย). ชัยภูมิ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

ศุภวิชญ์ โรมแพน, ศาสตร์ศิลป์ ละม้ายศรี และชูเกียรติ ผลาผล. (2561). แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ตำบลลุ่มลำชี อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 18(3), 51-58.

อาจารย์ ดร.ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ์ คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์ : 089-4219486

E-Mail: sutamdee_22@hotmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

– รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ปริญญาโท

– รป.ม. (การจัดการทุนมนุษย์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ปริญญาตรี

– รป.บ. (รัฐประศาสนศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ความสนใจด้านวิชาการ

– การบริหารรัฐกิจ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ นโยบายสาธารณะและการวางแผน

 

ผลงานวิชาการ

ผลงานวิจัย (ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว จำนวน 20 เรื่อง)

1) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี. 2559. แนวทางนโยบายการพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากรสายวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.วารสารวิชาการ มจร.สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559. (TCI กลุ่มที่ 1)

2) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2559. การประเมินผลการเพิ่มสมรรถนะองค์การผ่านระบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กรณีศึกษาเทศบาลเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2560. (TCI กลุ่มที่ 2)

3) จินตกานด์ สุธรรมดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2558. การพัฒนาขีดสมรรถนะองค์การเชิงนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี  ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2560. (TCI กลุ่มที่ 1)

4) จินตกานด์ สุธรรมดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และเสกสรรค์ สนวา. (2561). รูปแบบวิธีการจัดการทางสังคมเพื่อพัฒนาจิตพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนในจังหวัดชัยภูมิ.วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2561. (TCI กลุ่มที่ 1)

5)  ณัฐชัย ดำรงพันธุ์ และคณะ.(2562). แนวทางการบริหารจัดการน้ำเสีย โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนบ้านนาฝาย ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ กรณี: รองรับแผนพัฒนาจังหวัดชัยภูมิ ปี 2561-2564.วารสารวิชาการคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) พ.ศ.2562. (TCI กลุ่มที่ 2)

6) ลักขณา เก่วใจ และคณะ.(2562). การเสริมสร้างอาชีพแปรรูปกล้วยน้ำว้าโดยใช้ภูมิปัญญาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนท้องถิ่นตำบลนาฝาย จังหวัดชัยภูมิ วารสารวิชาการคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) พ.ศ.2562. (TCIกลุ่มที่ 2)

7)  จินตกานด์ สุธรรมดี, ลักขณา สุกใส และฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี. (2563).แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ.วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น : ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (2563) : มกราคม-เมษายน .(TCIกลุ่มที่ 2)

8) จินตกานด์ สุธรรมดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2559.การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อย่างยั่งยืนโดยความร่วมมือระหว่างชุมชนกับมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. วารสารนิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2560.  (วารสารทั่วไป)

9) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี, จินตกานด์ สุธรรมดี และบุญมี โททำ.2561. รูปแบบวิธีการขับเคลื่อนการเมืองภาคพลเมืองในยุคปฏิรูปของชาวรากหญ้าในจังหวัดชัยภูมิ วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2561.(วารสารทั่วไป)

10) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และคณะ.(2562). การพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้ปลูกข้าวอินทรีย์บ้านนาฝาย จังหวัดชัยภูมิ. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) พ.ศ.2561. (วารสารทั่วไป)

11) ศุภรดา แสนยาโต และคณะ.(2562). การพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรฝึกอบรมเรื่องการแปรรูปอาหารจากเห็ดนางฟ้าเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนท้องถิ่นตำบลนาฝาย จังหวัดชัยภูมิ. วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2562. (วารสารทั่วไป)

12) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี, จินตกานด์ สุธรรมดี และบุญมี โททำ.2561. รูปแบบวิธีการขับเคลื่อนการเมืองภาคพลเมืองในยุคปฏิรูปของชาวรากหญ้าในจังหวัดชัยภูมิ วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2561. (วารสารทั่วไป)

13) จินตกานด์ สุธรรมดีและคณะ.(2562). แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยระดับครัวเรือนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) พ.ศ.2561.(วารสารทั่วไป)

14) กันตินันท์ นามตะ, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2562. การดำเนินการทางวินัยข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา และพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2562. (วารสารทั่วไป)

15) จินตกานด์ สุธรรมดี, ลักขณา สุกใส และฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2563. แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม–เมษายน 2563. (TCIกลุ่มที่ 2)

16)  ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2563. แนวทางการยกระดับขีดความสามารถเกษตรกรรุ่นใหม่อย่างยั่งยืนในพื้นที่บ้านนาสีนวล ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563)

17) เสกสรรค์ สนวา, ประจิตร ประเสริฐสังข์, พงศ์สวัสดิ์ ราชจันทร์, สุพัฒนา ศรีบุตรดี, วรฉัตร วริวรรณ, จิราพร บาริศรี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และวันชัยสุขตาม. 2564. การศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม-มีนาคม พ.ศ.2564 .(TCIกลุ่มที่ 2)

18) Chartnarongsak Sutamdee, Jintakan Suthamdee, Seksan Sonwa, Wanchai Suktam and Sanya Kenaphoom. 2021. Thai Local Wisdom on the Commercial Fighting Cock Farming in Chaiyaphum Province, Thailand. PSYCHOLOGY AND EDUCATION (2020) 57(9): 4977-4983. (Scopus Q 4)

19 Wanchai Suktam, Jirayu Supsin, Siriphat Lapjit, Seksan Sonwa, Chartnarongsak Sutamdee and Sanya Kenaphoom. 2021. VOLUNTEER DEVELOPMENT TO LEARNING THE LOCAL WISDOM, AGRICULTURAL METHODS AND SUFFICIENCY WAYS FOR DEVELOPING THE LOCAL COMMUNITY, SURIN PROVINCE, THAILAND. Ilkogretim Online – Elementary Education Online, Year; Vol 20 (Issue 5): pp. 01-11. (Scopus Q 3)

20) Seksan Sonwa, Kongkiet Sukasem, Somjhai Phumipuntu, Phongsawat Rachajuntu, Wanchai Suktam, Chartnarongsak Sutamdee and Sanya Kenaphoom. 2021. The Impacts of Charcoal Burning at Khok Soong Subdistrict Municipality, Phon Thong District, Roi Et Province, Thailand. PSYCHOLOGY AND EDUCATION (2020) 57(9): 4968-4976. (Scopus Q 4)

 

บทความวิชาการ (ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว จำนวน 14 เรื่อง)

1) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี, จินตกานด์ สุธรรมดี.2560. กรอบแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การในศตวรรษที่ 21.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (ฉบับพิเศษ) เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2560.(TCI กลุ่มที่ 1)

2) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2560.การประยุกต์ใช้แนวคิดสมรรถนะเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 11 ฉบับที่ 1เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2560. (วารสารทั่วไป)

3) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2560.ขีดสมรรถนะบุคลากรกับการเพิ่มประสิทธิผลองค์การ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 7ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ.2560. (TCI กลุ่มที่ 2)

4) จินตกานด์ สุธรรมดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2560.กรอบการศึกษาวัฒนธรรมองค์การเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการปฏิบัติงาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ.2560. (TCI กลุ่มที่ 2)

5) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี, เสกสรร สนวา.2559.พฤติกรรมผู้นำกับการสร้างความเปลี่ยนแปลงในองค์การ. วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2560.(วารสารทั่วไป)

6) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี, จินตกานด์ สุธรรมดี.2560.แนวทางการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในยุคปฏิรูปประเทศไทย.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ 19 ฉบับ พิเศษ (มิถุนายน – กรกฎาคม) พ.ศ.2560. (TCI กลุ่มที่ 1)

7) เสกสรรค์ สนวา, สุพัฒนา ศรีบุตรดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2560. การปรับตัวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารช่อพะยอม ปีที่ 28 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน-ตุลาคม) พ.ศ.2560. (TCI กลุ่มที่ 2)

8) เสกสรรค์ สนวา, สุพัฒนา ศรีบุตรดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2560. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภายใต้หลักการโมเดลไทยแลนด์ 4.0 วารสารวิชาการกรุงเทพสุวรรณภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (เดือนพฤษภาคม-เดือนสิงหาคม) พ.ศ.2560. (TCI กลุ่มที่ 2)

9) จินตกานด์ สุธรรมดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี, สกสรรค์ สนวา, วันชัย สุขตาม.2561.ปฐมบทแห่งการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ยุคไทยแลนด์ 4.0.วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (เดือนมกราคม-เดือนมิถุนายน) พ.ศ.2561.(วารสารทั่วไป)

10) วลัยพรรณ กิตติอุดมพันธ์, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2558. ธรรมาภิบาลกับการบริหารในโรงเรียน.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) พ.ศ.2558. (TCI กลุ่มที่ 1)

11) สันต์ ประจิตร, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2559.ผู้นําและภาวะผู้นําในยุคโลกาภิวัตน์.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) พ.ศ.2559. TCI (กลุ่มที่ 1)

12) สถาพร ศรีเพียวไทย, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2559.ลักษณะผู้นําที่ดี.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2  (กรกฎาคม-ธันวาคม) พ.ศ.2559. (TCI กลุ่มที่ 1)

13) เสกสรรค์ สนวา, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี, จินตกานด์ สุธรรมดี และสุพัฒนา ศรีบุตรดี (2561).คุณลักษณะของอาจารย์มืออาชีพด้านรัฐประศาสนศาสตร์ในศตวรรษที่ 21.วารสารวิชาการ                      คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2561. (TCI กลุ่มที่ 1)

14) เสกสรรค์ สนวา, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และวิไลลักษณ์ ชาวสะอาด.(2561).คุณลักษณะของผู้นำองค์การภาครัฐสมัยใหม่.นำเสนอในเวทีการประชุมวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 1 ภายใต้หัวข้อ มนุษย์-สังคม : นวัตกรรมการพัฒนาท้องถิ่นสู่สากลตามศาสตร์พระราชา.วันที่ 14-15 กันยายน พ.ศ.2561 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์. (TCI กลุ่มที่ 1)

 

งานวิจัยประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 9 เรื่อง

1) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2559.โครงการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดน้ำใส อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ.ประจำปีงบประมาณ 2559.

2) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2560.โครงการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนหัน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. ประจำปีงบประมาณ 2560.

3) จินตกานด์ สุธรรมดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2560.โครงการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเพชร อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ. ประจำปีงบประมาณ 2560.

4) ศุภวิชญ์ โรมแพน, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2559.โครงการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลภูแลนคา อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. ประจำปีงบประมาณ 2558.

5) จินตกานด์ สุธรรมดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี.2561.โครงการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเพชร อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ. ประจำปีงบประมาณ 2561.

6) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และจินตกานด์ สุธรรมดี.2561.โครงการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยไร่ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ. ประจำปีงบประมาณ 2561.

7) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และจินตกานด์ สุธรรมดี.2561.โครงการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนหัน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. ประจำปีงบประมาณ 2561.

8) จินตกานด์ สุธรรมดี, ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี. 2562. โครงการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเพชร อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ. ประจำปีงบประมาณ 2562.

9) ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และจินตกานด์ สุธรรมดี. 2562. โครงการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของเทศบาลเมืองบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น. ประจำปีงบประมาณ 2562.

เอกสารประกอบการสอน จำนวน 4 รายวิชา

ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี. 2560.  การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี. 2560.  การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

เสกสรร สนวา ,ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และจินตกานด์ สุธรรมดี. 2561. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ท้องถิ่น และพฤติกรรมของผู้นำ.หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี. 2563.  การวิเคราะห์โครงการและการบริหารโครงการ. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

หนังสือ/ตำรา จำนวน 2 เล่ม

(หนังสือ)

ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และจินตกานด์ สุธรรมดี. 2561. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ยุคใหม่ ขอบข่ายแนวคิดและการประยุกต์. อำนาจเจริญ: เทคโนการพิมพ์ (2000). 2561. ISBN 978-616-474-247-5

(ตำรา)

ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี. 2561.  การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.”

อาจารย์อัญชิรญา จันทรปิฎก

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์
ตำแหน่งทางการบริหาร: –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณชั้น3 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์: 0806701242

E-mail: ch.anchiraya@gmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

ปริญญาโท

– รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปริญญาตรี

-ร.บ. (รัฐศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยนเรศวร

 

ความสนใจด้านวิชาการ

– ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ นโยบายสาธารณะ

ผลงานวิชาการ

อัญชิรญา จันทรปิฎก. (2563).  บทวิเคราะห์ “บทบาทรัฐ-สาธารณะ”ในการจัดบริการสาธารณะตามแนวคิดการร่วมผลิต.  วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา,  15(2),  240-247.

อัญชิรญา จันทรปิฎก. (2562). ภาพลวงทางการคลัง : บทวิเคราะห์ผลกระทบจากการดำเนินนโยบายประชานิยม. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร,  39(1), 1-17.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ พัฒนศานติ์

ตำแหน่งทางวิชาการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ตำแหน่งทางการบริหาร: –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณชั้น3 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์: 0823097296

E-mail: Anusorn_phat@hotmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

-รป.ด. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ)  มหาวิทยาลัยมหิดล

ปริญญาโท

– ร.ม. (การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปริญญาตรี

-ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

-ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

 

ความสนใจด้านวิชาการ

– การเมืองและการปกครอง พัฒนาสังคมและชุมชน นโยบายศึกษา

 

ผลงานวิชาการ

อนุสรณ์ พัฒนศานติ์.  (2563).  ศักยภาพขององค์กรชุมชนในการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่ในรอบหนึ่งทศวรรษตามพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาสภาองค์กรชุมชน จังหวัดชัยภูมิ.  วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 15(54), 54-64.

Phattanasarn, A. (2018). Policy Networks in Land Problem-Solving in Chaiyaphum Province,

Thailand. Asia-Pacific Social Science Review, 18(2), 179–195.

อนุสรณ์ พัฒนศานติ์. (2559). เครือข่ายองค์กรชาวบ้านในการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อมจังหวัดชัยภูมิ. วารสารสักทอง, 22(ฉบับพิเศษ), 85 – 93.

อนุสรณ์ พัฒนศานติ์ และคณะ. (2558). การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2554: กรณีศึกษาจังหวัดชัยภูมิ. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.

อาจารย์ ดร.คัทลียา นาวิเศษ

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์
ตำแหน่งทางการบริหาร: –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณชั้น 3 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์: 0899458245

E-mail: Tontawan18@gmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

-รป.ด.(รัฐประศาสนศาสตร์)  มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ปริญญาโท

– รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ปริญญาตรี

-ศศ.บ.(การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

 

ความสนใจด้านวิชาการ

ผลงานวิชาการ

คัทลียา นาวิเศษ, คุณัญญาฐ์ คงนาวัง และณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์.  (2563).  วิถีชุมชนกับการบริหารจัดการน้ำสู่รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์กรณีศึกษาตำบลนาเสียวอำเภอเมืองจังหวัดชัยภูมิ.วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น,  4(3),  303-316.

อาจารย์ ดร.เกศสุดา โภคานิตย์

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์
ตำแหน่งทางการบริหาร: –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์: 0848244451

E-mail: Kate_2523@windowslive.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

– รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ปริญญาโท

– ร.ม. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ปริญญาตรี

-ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 

ความสนใจด้านวิชาการ

– การเมืองการปกครอง การเมืองเปรียบเทียบ

ผลงานวิชาการ

  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. 2553. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : สภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. 2554. แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : บทบาทผู้นำในการพัฒนาท้องถิ่น กรณีศึกษานายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. 2558. แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน บ้านขาม อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ. 2559. แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ). (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : บทบาทผู้นำท้องถิ่นในการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วม เทศบาลตำบลบ้านค่ายหมื่นแผ้ว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. 2560. แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ, ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, วิทัญญู ขำชัยภูมิ : การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมประเพณีแห่นาคโหดชุมชนโนนเสลา ตำบลหนองตูม อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ. 2561. แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (ทุน วช.) (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ, ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, กมลชัย บัวสาย : ศักยภาพของชุมชนในการพัฒนาความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากโดยแนวทางประชารัฐ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบมีส่วนร่วมในจังหวัดชัยภูมิ. (2561). แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (ทุน วช.) (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ, ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, คัทลียา นาวิเศษ : การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนผ่านประเพณีแห่นาคโหด ชุมชนโนนเลสา ตำบลหนองตูม อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ : วิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม. (2562). (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • เกศสุดา โภคานิตย์ : การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดชัยภูมิ. (2562). (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • กีฬา หนูยศ, เกศสุดา โภคานิตย์ : ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิในทัศนะของนักศึกษาและผู้ปกครองของนักศึกษา ปีการศึกษา 2554. (2554). แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (ผู้ร่วมวิจัย)
  • กีฬา หนูยศ, เกศสุดา โภคานิตย์ : การสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความฉลาดทางอารมณ์ เพื่อการเลือกใช้สื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนในจังหวัดชัยภูมิ. (2562). แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (ทุน วช.) (ผู้ร่วมวิจัย)
  • ธนิกานต์ ศรีจันทร์, เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : สภาพปัญหาและความต้องการที่จะแก้ไขปัญหา และแนวทางในการแก้ไขปัญหาความจำเป็นขั้นพื้นฐานในการพัฒนาชุมชนรอบมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (2558). แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (ผู้ร่วมวิจัย)
  • บุญเพ็ง สิทธิวงษา, พระรัฐพงษ์ สิงห์สาธร, มงคล ศรีแสง, เกศสุดา โภคานิตย์ : การใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรภายในการประปาส่วนภูมิภาค สาขาขอนแก่น (พ). (2562). (ผู้ร่วมวิจัย)
  • กมลชัย บัวสาย, เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : การบริหารจัดการโครงการประชารัฐด้านเกษตรของกองทุนหมู่บ้านในอำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ. (2560). (ผู้ร่วมวิจัย)
  • ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, คัทลียา นาวิเศษ, เกศสุดา โภคานิตย์ : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาการจัดการระบบเศรษฐกิจชุมชนในยุคไทยแลนด์ 4.0 เพื่อเพิ่มรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน ตำบลท่าหินโงม อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. (2562). แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (ผู้ร่วมวิจัย)
  • เกศสุดา โภคานิตย์ และกีฬา หนูยศ. สภาพปัญหาการบริหารจัดการน้ำเพื่ออุปโภค บริโภคของชุมชนบ้านนาสีนวล ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. (256). แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ, ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, คัทลียา นาวิเศษ. (2562). การบริหารทุนชุมชนแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนบ้านขาม ตำบลบ้านขาม อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ. (หัวหน้าโครงการวิจัย)

 

ผลงานทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอน หรืออื่น ๆ

  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : บทบาทผู้นำในการพัฒนาท้องถิ่น กรณีศึกษานายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ, การประชุมวิชาการระดับชาติ มจร ขอนแก่น ประจำปี 2560, วันที่ 31 มีนาคม 2560. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น. หน้า 66-76. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาราชวิทยาลัย.
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : สภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ 3 (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2559. หน้า 311-318. กำแพงเพชร : มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
  • กมลชัย บัวสาย, เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : การบริหารจัดการโครงการประชารัฐด้านเกษตรของกองทุนหมู่บ้านในอำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ. วารสารแก่นเกษตร 45 ฉบับพิเศษ 1 (2560). หน้า 1484-1489. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน บ้านขาม อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2561). หน้า 11-18. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ : วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2562). หน้า 1-6. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
  • กีฬา หนูยศ, เกศสุดา โภคานิตย์ : ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิในทัศนะของนักศึกษาและผู้ปกครองของนักศึกษา ปีการศึกษา 2554. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2562). หน้า 268-276. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
  • บุญเพ็ง สิทธิวงษา, พระรัฐพงษ์ สิงห์สาธร, มงคล ศรีแสง, เกศสุดา โภคานิตย์ : การใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรภายในการประปาส่วนภูมิภาค สาขาขอนแก่น (พ). การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6. พ.ศ. 2562. หน้า 1322-1332. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
  • เกศสุดา โภคานิตย์ : การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2562). หน้า 50-56. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
  • ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, คัทลียา นาวิเศษ, เกศสุดา โภคานิตย์ : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาการจัดการระบบเศรษฐกิจชุมชนในยุคไทยแลนด์ 4.0 เพื่อเพิ่มรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน ตำบลท่าหินโงม อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการบริหารกิจการสาธารณะยุคดิจิทัล ครั้งที่ 5 “การบริหารกิจการสาธารณะยุคดิจิทัล กฎหมาย ความเป็นธรรม และการกลับคืนสู่ประชาธิปไตย” พ.ศ. 2562. หน้า 716-724. ขอนแก่น : วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
  • ดร.เกศสุดา โภคานิตย์, นายกีฬา หนูยศ, ดร.ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, ดร.คัทลียา นาวิเศษ. (2562). การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนผ่านประเพณีแห่นาคโหดชุมชนโนนเสลา ตำบลหนองตูม อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ : วิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านการบริหารกิจการสาธารณะยุคดิจิทัล ครั้งที่ 5 “การบริหารกิจการสาธารณะยุคดิจิทัล : กฏหมาย ความเป็นธรรม และการกลับคืนสู่ประชาธิปไตย”. 1 – 2 พฤศจิกายน 2562 ณ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ, ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, กมลชัย บัวสาย : ศักยภาพของชุมชนในการพัฒนาความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากโดยแนวทางประชารัฐ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบมีส่วนร่วมในจังหวัดชัยภูมิ. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2562). หน้า 278-289. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  • เกศสุดา โภคานิตย์ และกีฬา หนูยศ. (2563). สภาพปัญหาการบริหารจัดการน้ำเพื่ออุปโภค บริโภคของชุมชนบ้านนาสีนวล ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน).
  • เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ, ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, คัทลียา นาวิเศษ. (2562). การบริหารทุนชุมชนแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนบ้านขาม ตำบลบ้านขาม อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ. วารสารมุนษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563). หน้า 41-51.

อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์
ตำแหน่งทางการบริหาร: –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์: 085-7393211

E-mail: Chukiat_101@hotmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

ปริญญาโท

-ศศ.ม. (รัฐศาสตร์การปกครอง)  มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย

ปริญญาตรี

-พุทธศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความสนใจด้านวิชาการ

– ทฤษฎีรัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง สิทธิมนุยชน ปรัชญาการเมือง การปกครองท้องถิ่น

ผลงานวิชาการ

ชูเกียรติ ผลาผล, ไพฑูรย์ มาเมือง และคงฤทธิ์ แข็งแรง.  (2563).  มาตรการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). .วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,  4(4),  289-297.

ชูเกียรติ ผลาผล. (2561). แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ตำบลลุ่มลำชี อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ.

ชูเกียรติ ผลาผล. (2561). การนำหลักศีลธรรมไปใช้ในการส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายของครูโรงเรียนห้วยต้อนพิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ.

ชูเกียรติ ผลาผล. (2560). การพัฒนาความอยู่ดีมีสุขของชุมชนเสี่ยงภัยแล้งซ้ำซาก: ศึกษาชุมชนหมู่บ้าน หนองบัวเหลือง ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 17(2), 49-60.

อาจารย์ ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์
ตำแหน่งทางการบริหาร: –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

โทรศัพท์: 0872331052

E-mail: Vromparn911@gmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

-ร.ด. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ปริญญาโท

– ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์การปกครอง) มหามกุฎราชวิทยาลัย

ปริญญาตรี

-ศาสนศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์การปกครอง) มหาวิทยาลัยมกุฎราชกุมารราชวิทยาลัย

 

ความสนใจด้านวิชาการ

ผลงานวิชาการ

ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา, สมยศ ปัญญามาก.  (2563).  ประสิทธิผลการบริหารจัดการขยะแบบเบ็ดเสร็จ     ของเทศบาลตำบลบ้านค่ายหมื่นแผ้วอำเภอเมืองจังหวัดชัยภูมิ.  วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ,  5(2), 223-239.

พระศราวุฒิ มหาลาโภ และธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา. (2562). ทักษะการบริหารแบบมืออาชีพของผู้บริหารองค์กรยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา, 1(2): 1-12.

อาจารย์ ดร.กรรณวิษณ์ ช่วยอุปการ

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : –

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

เบอร์โทร : 061-0860955

E-Mail :

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

– ปร.ด. (ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

ปริญญาโท

– กศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ปริญญาตรี

– ศศ.บ. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ความสนใจทางวิชาการ

ผลงานทางวิชาการ

พรจิตต์ มีสิทธิ์ และกรรณวิทย์ ช่วยอุปการ. (2562). แนวทางการพัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชาติพันธุ์ญัฮกุรบ้านไร่ ตำบลบ้านไร่ อำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ, วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 2(2), 38-53.

พัชรี ศรีศักดิ์วิชัย และกรรณวิทย์ ช่วยอุปการ. (2562). แนวทางการจัดสวัสดิการพื้นฐานผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโสก อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ, วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 2(2), 21-37.

สิริภาวดี ดำรงพันธ์ และกรรณวิทย์ ช่วยอุปการ. (2562). แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนแบบมีส่วนร่วมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ, วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 2(2),

รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร ปัญญะพงษ์

ตำแหน่งทางวิชาการ : รองศาสตราจารย์

ตำแหน่งทางการบริหาร (ปัจจุบัน) : รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา

สถานที่ติดต่อ: ห้องพักอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ชั้น 3 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

เบอร์โทร : 089-8433128

E-Mail: soonpan_cpru@hotmail.com, soonthorn@cpru.ac.th

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก

– ปร.ด. (สังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปริญญาโท

– ศศ.ม. (สังคมวิทยาการพัฒนา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปริญญาตรี

– พธ.บ. (รัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความสนใจทางวิชาการ

– สังคมวิทยา สังคมศาสตร์ การพัฒนาสังคม ยุทธศาสตร์การพัฒนา

ผลงานทางวิชาการ

สุนทร ปัญญะพงษ์, ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา, ณัฐพล ดวงมาลา. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการลุ่มน้ำด้านการท่องเที่ยว : กรณีศึกษาลุ่มน้ำลำปะทาว จังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ (สกว.). ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 กรกฎาคม – สิงหาคม 2553. (บทความวิจัย)

สุนทร ปัญญะพงษ์, ผศ.ดร.วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์, รศ.ดร.วงศา เลาหศิริวงษ์. (2554). “การคลี่คลายความขัดแย้งในการจัดการทรัพยากรน้ำในบริบทสังคมไทย: กรณีศึกษาเขื่อนลำปะทาว จังหวัดชัยภูมิ” วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม–กันยายน 2554. (บทความวิจัย)

สุนทร ปัญญะพงษ์, ผศ.ดร.วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์, รศ.ดร.วงศา เลาหศิริวงษ์. (2555). “ความขัดแย้งระหว่างชุมชนท้องถิ่นกับหน่วยงานภาครัฐในการจัดการทรัพยากรน้ำจากเขื่อนลำปะทาว อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ”. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555. (บทความวิจัย)

สุนทร ปัญญะพงษ์, ดร.อัญชลี ชัยศรี, ผศ.สมนึกขวัญเมือง, ดร.กรรณวิษณ์ ช่วยอุปการ. (2560). บทบาทพระสงฆ์กับการพัฒนาสังคม : กรณีศึกษาพระไพศาล วิสาโล วัดป่าสุคะโต อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ. วารสารพระพิมล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ปีที่ 5 เล่ม 1 มกราคม–มิถุนายน 2560. (บทความวิจัย)

สุนทร ปัญญะพงษ์, ดร.อัญชลี ชัยศรี, ดร.ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา, อ.วิทัญญู ขำชัยภูมิ, และอ.วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ. (2560). รูปแบบการจัดสวัสดิการของผู้สูงอายุในเขตจังหวัดชัยภูมิ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2560. (บทความวิจัย)

สุนทร ปัญญะพงษ์, ดร.ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา, วิทัญญู ขำชัยภุมิ. (2561). ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันตามแนวคิดเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล : วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจังหวัดชัยภุมิ. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561. (บทความวิจัย)

วิทัญญู ขำชัยภูมิ, สุนทร ปัญญะพงษ์, เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก, อ.วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ, อ.เสาวนีย์ จันทสังข์. (2561). บทบาทของบุคคลในชุมชนต่อการแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชนจังหวัดชัยภูมิ.  วารสารเอเชียพิจาร ศูนย์ศึกษาเอเชีย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปีที่ 5 ฉบับที่ 10 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561. (บทความวิจัย)

สุนทร ปัญญะพงษ์, ดร.อัญชลี ชัยศรี, ดร.ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา, อ.วิทัญญู ขำชัยภูมิ, อ.วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ. (2562). การพัฒนาศักยภาพการทำงานเชิงเศรษฐกิจและสังคมของกลุ่มผู้สูงอายุในจังหวัดชัยภูมิ. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2562. (บทความวิจัย)

สุนทร ปัญญะพงษ์, ผศ.ดร.อัญชลี ชัยศรี, ดร.ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา, ผศ.วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ. (2563). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านนาฝาย ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารวิชาการ มจร บุรีรัมย์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563. (บทความวิจัย)

รายงานการประชุมสืบเนื่อง (Proceeding)

สุนทร ปัญญะพงษ์, ทัศไนยวรรณดวงมาลา, อัญชลี ชัยศรี, วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ. (2558). บทบาทพระสงฆ์ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : กรณีศึกษาป่าต้นน้ำลำปะทาว จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 3 “สหวิทยาการ งานวิจัย และนวัตกรรมอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นไทย ก้าวไกลสู่อาเซียน” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. พ.ศ. 2558.

สุนทร ปัญญะพงษ์, อัญชลี ชัยศรี, ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา. (2559). บทบาทของธรรมยาตราในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : กรณีศึกษาป่าต้นน้ำลำปะทาว จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 2“งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์.

สุนทร ปัญญะพงษ์. อัญชลี ชัยศรี, ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา. (2559). การบูรณาการแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น : กรณีศึกษาองค์กรชุมชนบ้านหนองปอแดง ตำบลกวางโจน อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงวิจัย “สร้างองค์ความรู้ สู่การพัฒนา นำพาสังคม” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี. พ.ศ. 2559. (บทความวิจัย)

สุนทร ปัญญะพงษ์, อัญชลี ชัยศรี, ศันสนีย์ แอมประชา, พนารัตน์ เดชกุลทอง, กรรณวิษณ์ ช่วยอุปการ. (2560). การพัฒนาหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีศึกษาบ้านกุดโง้ง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. พ.ศ. 2560.

สุนทร ปัญญะพงษ์, อัญชลี ชัยศรี, วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ, วิทัญญู ขำชัยภูมิ, กัญญาวีร์ แก้วนุ้ย. (2560). ภูมิปัญญาท้องถิ่นการตีคลีไฟแห่งเดียวในสังคมไทย : กรณีศึกษาบ้านหนองเขื่อง ตำบลกุดตุ้ม อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. พ.ศ. 2560.

สุนทร ปัญญะพงษ์, อัญชลี ชัยศรี, วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ. (2560). บทบาทพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคม : กรณีศึกษาพระสงฆ์ในจังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2560 ครั้งที่ 2 “เศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี.

ประกายเพชร กุลหินตั้ง, วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ, สุนทร ปัญญะพงษ์, อรอนุตร ธรรมจักร. (2560). อัตลักษณ์ทางสุนทรียภาพด้านดนตรีในสถานศึกษา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. พ.ศ. 2560.

วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ, ประกายเพชร กุลหินตั้ง, สุนทร ปัญญะพงษ์, อรอนุมตร ธรรมจักร, กรกมล ไวยราบุตร. (2560). การดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ญัฮกุร จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. พ.ศ. 2560.

ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา, สุนทร ปัญญะพงษ์, พรรณี หงส์พันธ์. (2560). การรับรู้มาตรฐานโรงแรงสีเขียว กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดและการตัดสินใจเลือกโรงแรมของผู้ใช้บริการในจังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2560 ครั้งที่ 2 “เศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี.

อัญชลี ชัยศรี, ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา, สุนทร ปัญญะพงษ์. (2560). กลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอุทยานแห่งชาติป่าหินงามจังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2560 ครั้งที่ 2 “เศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี.

สุนทร ปัญญะพงษ์, อัญชลี ชัยศรี, ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา, วิทัญญู ขำชัยภูมิ, วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ. (2561). การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านตามหลักธรรมาภิบาล : กรณีศึกษากองทุนหมู่บ้านช่อระกา ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. พ.ศ. 2561.

อัญชลี ชัยศรี, สุนทร ปัญญะพงษ์, ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา. (2561). กลยุทธ์การตลาดด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. พ.ศ. 2561.

วิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ. สุนทร ปัญญะพงษ์, ประกายเพชร กุลหินตั้ง, อรอนุตร ธรรมจักร. (2561). คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ในการพัฒนาสังคม : กลองกิ่ง จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. พ.ศ. 2561.

อัญชลี ชัยศรี และสุนทร ปัญญะพงษ์. (2561). การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบ้านกุดโง้ง จังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2560 ครั้งที่ 2 “เศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี. ในระหว่างวันที่ 15–16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561.

อัญชลี ชัยศรี, สุนทร ปัญญะพงษ์, ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา. (2561). การท่องเที่ยวเชิงพุทธในจังหวัดชัยภูมิ. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวินจัยระดับชาติ ประจำปี 2561 ครั้งที่ 3 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี.

อัญชลี ชัยศรี, อัญนวียา ภัชร์จรินท์ญา, สุนทร ปัญญะพงษ์. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการจองห้องพักผ่านทางแอพพลิเคชั่นมือถือ. การประชุมวิชาการ 2nd National Conference on Creative Technology ในหัวข้อ “Interdisciplinary for Thailand 4.0” ประจำปี 2561 จัดโดยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ในระหว่างวันที่ 24-26 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมชลจันทร์ จังหวัดชลบุรี.

Panyapong, S & Chamruspanth V. (2010). Resolution of Conflict on Water Management by Communities: A Case Study of Lam Pratao Sub-Watershed, Chaiyaphum Province. International Conference on “Changing Way of Life of Ethnicities in the Mekong Sub-region” 11 – 12 November 2010, (pp. 44-45). Thailand Ubon Ratchathani.

Panyapong, S., Chaisri, A., Doungmala, T., Khumchaiyaphum, W., & Prungchaiyaphum, W. (2017). The Participation of community in welfare management of the Elderly’s Quality of Life in Thai Society: A Case Study of the Elderly in Chaiyaphum Province. The 9th International Conference on Humanities and Social Sciences “Challenges in the 21st Century: Sustainable Development in Multicutural Societies” (pp. 62-73). Songkla, Thailand: Prince of Songkla University.

Scroll to top